Th:WikiProject Thailand
หมายเหตุสำหรับบริษัทหรือองค์กรที่จะเริ่มโครงการจัดทำแผนที่ในประเทศไทย หากคุณมีแผนโครงการจัดทำแผนที่ในประเทศไทย โปรดแจ้งต่อชุมชนก่อนที่ฟอรัม เราสามารถช่วยอภิปรายแนวคิดการทำแผนที่และชี้แจงแนวทาง และสิ่งที่ควรคำนึงถึงในการทำแผนที่ พวกเราพร้อมให้ความช่วยเหลือในการทำให้ OSM นั้นประสบความสำเร็จมากขึ้น เมื่อนำคุณสมบัติจากภาพถ่ายมาพิจารณา สิ่งสำคัญคือต้องตรวจสอบการจัดตำแหน่งกับแหล่งข้อมูลหลายๆ แหล่งล่วงหน้า หากคุณกำลังพิจารณาสร้างแผนที่รูปร่างอาคาร สิ่งสำคัญคือต้องสร้างรูปทรงเรขาคณิตที่ถูกต้อง เช่น ผนังกำแพงที่เป็นมุมฉาก และจัดวางให้ตรงกับภาพ นอกจากนี้ คุณยังต้องควบคุมคุณภาพและให้คำปรึกษาเมื่อต้องนำผู้ทำแผนที่ที่ไม่มีประสบการณ์จำนวนมากเข้ามาร่วมให้ข้อมูล นอกจากนี้ โปรดทราบว่าคุณต้องมีแนวทางการแก้ไขอย่างเป็นระบบด้วย |
V・T・E ประเทศไทย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ |
ละติจูด: 13.0, ลองจิจูด: 101.5 |
เรียกดูแผนที่ประเทศไทย 13°00′00.00″ N, 101°30′00.00″ E |
แก้ไขแผนที่ |
|
ลิงก์ภายนอก |
ใช้แม่แบบนี้สำหรับเมืองของคุณ |
ประเทศไทยคือประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้บนละติจูด13°00′00.00″ เหนือ และลองจิจูด101°30′00.00″ ตะวันออก
ชุมชน
ชุมชนของเรามีผู้ใช้ในประเทศไทย เพิ่มชื่อผู้ใช้ของคุณหากคุณดำเนินการทำแผนที่ในประเทศไทย โดยเพิ่มหมวดหมู่ต่อไปนี้ไปยังหน้าผู้ใช้ของคุณ (คุณยังสามารถเพิ่มเมือง หรือนครที่คุณอยู่อาศัยได้อีกด้วย) [[Category:Users in Thailand|name]]
ชุมชนของเรามีฟอรัม (เว็บบอร์ด) และ กลุ่ม Facebook สำหรับผู้คนในประเทศไทยที่คุณสามารถพูดคุยกับผู้อื่นถึงทุก ๆ อย่างที่เกี่ยวข้องกับ OpenStreetMap (OSM) และการทำแผนที่ในประเทศไทย โดยในฟอรัมนข้างต้น คุณสามารถโพสต์เป็นภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษ หากคุณมีคำถามใดที่เกี่ยวข้องกับ OpenStreetMap ในประเทศไทย โปรดอย่าลังเลที่จะถามคำถามนั้นในช่องทางที่กล่าวไปได้ โดยคุณสามารถเพิ่มข้อเสนอสำหรับหน้านี้ลงในหน้าร่างโครงการวิกิประเทศไทย และอภิปรายในฟอรัม
โครงการ
โครงการตามพื้นที่
- กรุงเทพมหานคร - เมืองหลวงและเมืองที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศไทย -- โดยยังขาดข้อมูล ชื่อถนน และความถูกต้องของข้อมูลอยู่
- พังงา - จังหวัดในภาคใต้ฝั่งทิศตะวันตก โดยมีผู้ที่สนใจในพื้นที่นี้อยู่บ้าง
- เชียงใหม่ - จังหวัดในภาคเหนือ และเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศไทย
- ภูเก็ต - จังหวัดเกาะทางตอนใต้ของประเทศไทย
สำหรับรายการของเทศบาลนคร, เทศบาล, เมือง และตำบล โปรดดูที่รายชื่อเทศบาลในประเทศไทย
โครงการอื่น ๆ
- สำรวจทางไกล - โครงการสำรวจความร่วมมือเมืองต่างๆ ในประเทศไทย
- /พื้นที่คุ้มครอง — หน้าย่อยของรายการแหล่งข้อมูลสำหรับติดตามความคืบหน้าการทำแผนที่อุทยานแห่งชาติ และพื่นที่คุ้มครองอื่น ๆ
แนวทางปฏิบัติ
จำนวนผู้ใช้ในประเทศไทยนั้นเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นเราจึงจำเป็นที่ต้องมีข้อตกลง และแนวทางปฏิบัติเพื่อความเป็นระเบียบของข้อมูล
เนื่องจาก OpenStreetMap เป็นโครงการที่คล้ายกับ wiki ผู้ใช้ทุกคนจึงสามารถเลือกแท็กที่ต้องการได้อย่างอิสระ แต่เมื่อเวลาผ่านไป คู่คีย์/ค่าบางคู่ได้กลายมาเป็น "มาตรฐาน" ในการแท็กสิ่งต่างๆ ซึ่งสิ่งเหล่านี้มีการบันทึกไว้ใน wiki โดยสามารถเริ่มต้นศึกษาได้ที่หน้าคุณลักษณะแผนที่
สำหรับประเทศไทยมีข้อกำหนดพิเศษบางประการเกี่ยวกับการแท็กสิ่งต่างๆ ที่นี่ หน้านี้แสดงเฉพาะสิ่งต่างๆ ที่ได้รับการจัดการเป็นพิเศษในประเทศไทยเท่านั้น
เมื่อแนวทางปฏิบัตินั้นได้รับการตกลงเสร็จสมบูรณ์แล้วจะปรากฎขึ้นในหน้านี้ แต่หากยังอยู่ในขั้นตอนอภิปรายอยู่ ตะปรากฎอยู่ในหน้าอภิปราย
ชื่อหลายภาษา
แผนที่ Mapnik และ Osmarender บน OpenStreetMap.org ใช้ name=* ซึ่งคือชื่อท้องถิ่นสำหรับการเรนเดอร์แสดงผล โดยมีแผนที่ที่สามารถเลือกภาษาแสดงผลได้:
- ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม: แผนที่สองภาษา; ภาษาท้องถื่น(ซึ่งก็คือภาษาไทย) และภาษาอังกฤษ
พื้นฐานอ้างอิงจากวิกิพีเดีย:
- "ในทางภาษาศาสตร์แล้ว การถอดเสียง หรือ การถอดเป็นอักษรโรมัน คือการถอดคำพูดหรือคำเขียนที่ใช้ระบบการเขียนต่าง ๆ เป็นอักษรโรมัน (ละติน) โดยสำหรับคำเขียนใช้การทับศัพท์ สำหรับคำพูดใช้การถอดเสียง ซึ่งสามารถแบ่งเป็นสองประเภทย่อยได้อีก คือการถอดเสียงตามหน่วยเสียง และ การถอดเสียงให้สอดคล้องกับการออกเสียง" อ้างอิง: wikipedia:th:การถอดเป็นอักษรโรมัน
- "หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถาน คือระบบทางการ ที่ใช้สำหรับแสดงคำในภาษาไทยเป็นอักษรโรมันตามวิธีอ่าน จัดทำโดยราชบัณฑิตยสถาน (ปัจจุบันคือสำนักงานราชบัณฑิตยสภา) หลักเกณฑ์นี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อใช้ถอดวิสามานยนามในป้ายบอกทางและเอกสารต่าง ๆ ของหน่วยงานราชการเป็นหลัก และเป็นระบบที่ใกล้เคียงกับมาตรฐานการถอดเสียงภาษาไทยมาตรฐานหนึ่ง ๆ มากที่สุด แต่การใช้หลักเกณฑ์นี้ในทางปฏิบัติเป็นไปอย่างไม่สม่ำเสมอแม้ในหมู่หน่วยงานราชการเอง ระบบการถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันตามหลักเกณฑ์นี้แทบจะเหมือนกับระบบที่กำหนดไว้ในมาตรฐาน ISO 11940-2" References: หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถาน และ wikipedia: ISO 11940-2.
วิธีการได้มาซึ่งชื่อที่ถอดเสียงแล้ว:
- เก็บรวบรวมจากป้าย เมื่อทำการเก็บสำรวจข้อมูล ผู้ใช้แผนที่จะเปรียบเทียบป้าย
- วิกิพีเดีย หรือแหล่งข้อมูลอื่นบนอินเตอร์เน็ตสำหรับชื่อของหน่วยงานปกครอง [https://www.orst.go.th/FILEROOM/CABROYINWEB/DRAWER004/GENERAL/DATA0000/00000804.PDF สำนักงานราชบัณฑิตยสภา: ชื่อจังหวัด อำเภอ ตำบล เขต และแขวง
- ใช้โปรแกรมสำหรับ Windows จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: โปรแกรมถอดอักษรภาษาไทยตามแนวราชบัณฑิตยสถาน
- ถอดเสียงโดยตัวคุณเอง โดยให้อ้างอิงจากหลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถาน
ตัวอย่างการตั้งชื่อ:
- name=ภูเก็ต. ชื่อท้องถิ่นเป็นภาษาไทย. หมายเหตุ: ยังมีการอภิปรายถึงแนวทางสำหรับชื่อแบรนด์
- name:th=ภูเก็ต. ภาษาไทย
- name:en=Phuket. "คำถอดเสียง"
คนที่สามารถอ่านภาษาไทยได้จะชอบชื่อที่เป็นภาษาไทยมากกว่าเนื่องจากเหตุผลที่ได้กล่าวไว้ในหลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถาน ผู้อื่นจะชอบชื่อที่เป็นตัวอักษรโรมัน เมื่อใช้แผนที่ และเปรียบเทียบชื่อกับป้าย หรือถามคนไทยสำหรับแผนที่สองภาษานั้นจะสะดวกกว่า
ในกรณีที่การถอดเสียงนั้นแตกต่างจากชื่อในภาษาอังกฤษ การถอดเสียงแบบราชบัณฑิตยสถานสามารถใส่ไว้ในแท็ก name:th-Latn=* ซึ่งอาจไม่จำเป็นเสมอไป เนื่องจากในทางทฤษฎีแล้ว จะสามารถเรนเดอร์คำถอดเสียงโดยอัตโนมัติได้ อย่างไรก็ตามความแม่นยำของการถอดเสียงนั้นยังจำกัดอยู่ โดยเฉพาะชื่อเฉพาะ
- name=จังหวัดภูเก็ต
- name:en=Phuket Province
- name:th-Latn=Changwat Phuket
ประเภททางหลวงในประเทศไทย
ทางหลวงในประเทศไทยนั้นแบ่งได้ออกเป็น 5 ประเภท:
- ทางหลวงพิเศษ หรือ ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง รักษาดูแลโดยกรมทางหลวง
- ทางหลวงแผ่นดิน รักษาดูแลโดยกรมทางหลวง
- ทางหลวงชนบท รักษาดูแลโดยกรมทางหลวงชนบท
- ทางหลวงท้องถิ่น รักษาดูแลโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- ทางหลวงสัมปทาน กษาดูแลโดยกรมทางหลวง
และยังมีถนนที่ดูแลโดยหน่วยงานอื่นๆ เช่นทางด่วนของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย และถนนท้องถิ่นโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย
สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม โปรดศึกษาได้จากบนความบนวิกิพีเดีย: ทางหลวงในประเทศไทย หรือ ทางหลวงในประเทศไทย
ทางระหว่างเมือง
สำหรับหลักการจำแนกประเภทถนนระหว่างเมืองจะมีรูปแบบดังต่อไปนี้ ซึ่งจำใช้กับถนนระหว่างเมืองเท่านั้น
แท็ก OSM | รายละเอียดและข้อเสนอแนะ | ตัวอย่าง | ภาพประกอบ |
---|---|---|---|
highway=motorway (ทางหลวงพิเศษ) |
ทางด่วน รับผิดชอบโดยการทางพิเศษแห่งประเทศไทย | highway=motorway | |
มอเตอร์เวย์ ที่มีการควบคุมการเข้าถึง (1-2 หลัก ป้ายพื้นหลังสีน้ำเงิน) รับผิดชอบโดยกรมทางหลวง | highway=motorway | ||
highway=trunk (ทางหลวงสายประธาน) |
มอเตอร์เวย์ ที่ไม่มีการควบคุมการเข้าถึง (1-2 หลัก ป้ายพื้นหลังสีเขียว) รับผิดชอบโดยกรมทางหลวง | highway=trunk
(ส่วนฝั่งตะวันตก) |
|
ทางหลวงแผ่นดิน 1-2 หลักทั้งหมด ยกเว้นมีการระบุไว้เป็นกรณีพิเศษ (ดูหมายเหตุใต้ตาราง)
(หมายเหตุว่าส่วนของทางหลวงที่มีเลขถนน 1-2 หลักที่มีระยะทางสั้นกว่า 5 กม. นั้นนับเป็นปลายสิ้นสุด และต้องลดระดับลงเป็นทางหลวงแผ่นดินสายรอง) |
highway=trunk | ||
สำหรับ*ส่วน*ของถนนที่เป็นทางคู่มากกว่าร้อยละ 90 ของระยะทางที่มีเกาะกลางแบ่ง มีไหล่ทาง และยาวมากกว่า 100 กม. (การนับความยาวสามารถขยายไปยังการอ้างอิงถนนที่แตกต่างกันได้) | highway=trunk
(Section from Nakhon Phanom to Ubon Ratchathani) |
||
highway=primary (ทางหลวงแผ่นดินสายหลัก) |
ทางหลวงแผ่นดิน 3 หลักทั้งหมด ยกเว้นมีการระบุไว้เป็นกรณีพิเศษ (ดูหมายเหตุใต้ตาราง)
(Noted that a 3-digit national highway that is shorter than 5km and is a hanging end shall be downgraded to eliminate the hanging end or to secondary.) |
highway=primary | |
Any road section* that is more than 90% dual-carriageway, has a physical or painted median (wider than 1m, not just a double solid line) and shoulder, and is more than 25km long. (Length counting can be extended to different road ref.) | highway=primary | ||
highway=secondary (ทางหลวงแผ่นดินสายรอง) |
ทางหลวงแผ่นดิน 4 หลักทั้งหมด ยกเว้นมีการระบุไว้เป็นกรณีพิเศษ (ดูหมายเหตุใต้ตาราง) | highway=secondary | |
ทางหลวงชนบท หรือถนนท้องถิ่นที่มีความสำคัญเท่ากับหรือมากกว่า(ในแง่ของประสิทธิภาพ/ความกว้าง/ปริมาณของไฟจราจร/ความยาวรวม) เทียบกับทางหลวงแผ่นดินสายรอง | highway=secondary | ||
highway=tertiary (ถนนสายย่อย) |
ทางหลวงชนบททั้งหมด (อักษรย่อจังหวัดและเลข 4 หลัก) ยกเว้นมีการระบุไว้เป็นกรณีพิเศษ (ดูหมายเหตุใต้ตาราง)
ทางหลวงชนบททั้งหมดควรจะถูกแท็กด้วย ref=จว.ลลลล เมื่อ จว คืออักษรย่อจังหวัดที่เป็นตัวอักษรภาษาไทย ตามด้วยจุด และตามด้วยส่วนที่เป็นเลขอ้างอิง และไม่ควรมีช่องว่างในค่าของแท็ก ref |
highway=tertiary
|
|
ถนนท้องถิ่นที่มีความสำคัญเท่ากับหรือมากกว่า(ในแง่ของประสิทธิภาพ/ความกว้าง/ปริมาณของไฟจราจร/ความยาวรวม) เทียบกับถนนสายย่อย (มักเป็นถนนท้องถิ่นหลักที่มีเลขอ้างอิง) | highway=tertiary | ||
highway=unclassified (ถนนพื้นฐาน) |
ทางสาธารณะลำดับต่ำที่สุดที่รถยนต์สามารถใช้ได้ (ส่วนใหญ่เป็นทางหลวงท้องถิ่น รหัสจังหวัดตามด้วย "ถ" และเลขห้าหลัก หรือทางขององค์กรอื่น ๆ)
โดยทั่งไปแล้ว ถนนพื้นฐานในประเทศไทยนั้นคือถนนที่ไม่มีเลขอ้างอิง ถนนพื้นฐานเป็นถนนที่มีความสำคัญในระบบเครือข่ายถนนน้อยกว่าถนนสายย่อย และไม่ใช่ถนนชุมชน/ที่อยู่อาศัย หรือทางเกษตรกรรม ถนนท้องถิ่นควรแท็กด้วย ref=จว.ถnn-nnn โดยมีเครื่องหมายยัติภังค์ หรือ เครื่องหมายขีด (-) ในตำแหน่งที่ถูกต้อง และไม่ควรมีช่องว่างในค่าแท็ก ref |
highway=unclassified
|
ถนนทั่วไปที่กว้างพอสำหรับรถยนต์
หลักการจำแนกประเภทถนนที่ไม่ใช่ถนนระหว่างเมือง หรือก็คือถนนภายในเขตเมือง/เทศบาล และเป็นถนนที่กว้างพอสำหรับรถยนต์ขับผ่านได้
แท็ก OSM | ชื่อ OSM ภาษาไทย | รายละเอียดและข้อเสนอแนะ | ภาพประกอบ |
---|---|---|---|
highway=motorway | ทางหลวงพิเศษ | ทางพิเศษ หรือทางด่วนที่มีการควบคุมการเข้าถึง | |
highway=trunk | ทางหลวงสายประธาน | อย่าใช้ในเขตเมือง | |
highway=primary | ทางหลวงแผ่นดินสายหลัก | ถนนเขตเมืองระดับสูงสุดที่เชื่อมต่อทางหลวงสายประธานต่อสายประธาน หรือถนนที่มีความสำคัญมากกว่าหรือเท่ากับถนนระหว่างเมืองหลักที่วิ่งพาดผ่านตัวเมือง | |
highway=secondary | ทางหลวงแผ่นดินสายรอง | ถนนเขตเมืองหลักที่เชื่อมต่อทางหลวงแผ่นดินสายหลักกับทางหลวงแผ่นดินสายหลัก หรือสูงกว่า หรือถนนที่มีความสำคัญมากกว่าหรือเท่ากับถนนระหว่างเมืองสายรองที่วิ่งพาดผ่านตัวเมือง | |
highway=tertiary | ถนนสายย่อย | ถนนที่มีความสำคัญมากกว่าถนนพื้นฐาน หรือถนนชุมชน หรือถนนที่เชื่อมกับถนนพื้นฐานหรือถนนชุมชนอยู่หลายเส้น | |
highway=unclassified | ถนนพื้นฐาน | ถนนสาธาณะระดับต่ำสุดที่เข้าถึงได้โดยรถยนต์ สำหรับจราจรขับผ่าน และถนนที่อยู่นอกเขตชุมชนที่อยู่อาศัย และยังใช้สำหรับถนนหลักภายในนิคมอุตสหกรรม หรือเขตมหาวิทยาลัย | |
highway=residential | ถนนชุมชน | ถนนสาธาณะระดับต่ำสุดที่เข้าถึงได้โดยรถยนต์ภายในเขตชุมชนที่อยู่อาศัย มักพาดขนานกับอสังหาริมทรัพย์อาศัย และแทบไม่ใช่กับถนนจราจรขับผ่าน และยังรวมถึงถนน/ซอยภายในหมู่บ้านจัดสรรด้วย | |
highway=service | ถนนบริการ | ถนนที่ใช้ในการเข้าถึงที่ดิน ที่จอดรถ หรือถนนในพื้นที่ส่วนตัวขนาดใหญ่ เช่นนิคมอุตสหกรรม หรือเขตมหาวิทยาลัย | |
highway=service + service=driveway | ทางรถ | ถนนบริการที่นำไปยังอาคาร บ้าน ที่อยู่อาศัย หรือสถานที่ค้าขาย และสถานที่พาณิชยกรรม เช่นทางขับรถส่วนบุคคลเข้าบ้านที่แตกกิ่งออกมาจากถนนชุมชน | |
highway=service + service=alley | ทางรถ | ถนนบริการที่แคบที่มักอยู่บริเวณด้านหลังของอาคารหลายอาคาร เพื่อเป็นทางบริการสำหรับสาธารณูปโภค เช่นสวนหลัง ประตูหลัง ทางหนีไฟ และพื้นที่เก็บของเป็นต้น โดยแท็กนี้ไม่ควรใช้สำหรับถนนชุมชนที่แคบที่เข้าถึงบริเวณด้านหน้าอาคาร | |
highway=track | ทางเกวียน | ถนนหรือทางใช้สำหรับเกษตรกรรม หรือป่าไม้ เช่นคันนาที่รถขับเข้าได้ โดยแท็กนี้ไม่ควรใช้กับถนนลูกรังที่เป็นทางเข้าถึงพื้นที่อาศัย หรือสิ่งอำนวยความสะดวก | |
highway=living_street | ถนนใช้ร่วมรถและคน | อย่างใช้ถนนประเภทนี้ เนื่องจากปัจจุบันประเทศไทยนั้นยังไม่มีกฎหมายสำหรับถนนประเภทดังกล่าว ซึ่งต้องมีการจำกัดความเร็วต่ำ และคนเดินนั้นมีสิทธิเอกเหนือยานพาหนะอื่นบนทางภายในแหล่งชุมชน | |
highway=road | ถนนที่ยังไม่ทราบประเภทจนกว่าจะมีการสำรวจภาคพื้น | ||
อื่นๆ | ดูที่ highway=* |
ถนนทั่วไปที่รถยนต์ไม่สามารถผ่านได้
แท็ก OSM | รายละเอียดและข้อเสนอแนะ | ภาพประกอบ |
---|---|---|
highway=path+ motorcycle=yes
หรือ highway=path+ motorcycle=designated (ถ้ามีป้ายบอกชัดเจน) |
ทางแคบซึ่งรถยนต์ไม่สามารถขับผ่านได้ แต่รถจักรยานยนต์นั้นอนุญาติให้ผ่าน หรือมักใช้โดยคนท้องถิ่น | |
highway=footway | เส้นทางรองที่ใช้โดยคนเดินเท้าเป็นหลักหรือเฉพาะ ตัวอย่างเช่น ทางเดินเท้าที่กำหนดไว้ในเขตเมือง สวน และพื้นที่ท่องเที่ยว เส้นทางบนภูเขาที่เหมาะแก่การเดินเท่านั้น | |
highway=pedestrian | เส้นทางถนนที่ปิดไว้ให้เฉพาะคนเดินเท้าเท่านั้น มักพบในพื้นที่ค้าขาย หรือในพื้นที่นันทนาการ โดยมีลักษณะเป็นทางกว้างพื้นแข็งสำหรับคนเดิน | |
อื่นๆ | ดูที่ highway=* |
หมายเหตุ
- ถ้าหากถนนสองสายที่อยู่ใกล้เคียงกันซึ่งมีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดเดียวกันหรือใกล้เคียงกันมีระดับชั้นที่แตกต่างกัน และถนนที่มีระดับชั้นต่ำกว่ามีประสิทธิภาพดีกว่า (เดินทางระหว่างสองจุดนั้นได้เร็วกว่า) เมื่อเทียบกับถนนที่มีระดับชั้นสูงกว่า ระดับชั้นของถนนทั้งสองสายจะต้องสลับกัน (ไม่ใช่แค่ลดระดับหรืออัปเกรดถนนสายใดสายหนึ่ง) ซึ่งโดยปกติแล้วจะเป็นกรณีของถนนเลี่ยงเมือง
- ทางหลวงแผ่นดินหรือทางหลวงชนบทที่ผ่านเมืองมักจะถูกโอนไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทางหลวงเหล่านี้ยังคงได้รับการจัดหมวดหมู่ตามการจำแนกประเภทการบริหารเดิม
- ควรหลีกเลี่ยงการใช้ทางหลวงแผ่นดินสายหลักที่ปลายห้อยลงมาหากทำได้ ตัวอย่างเช่น หากทางหลวงแผ่นดินสายหลักสองสาย จากภายนอกมาถึงจุดตรงข้ามกันในเมืองเดียวกัน ทั้งสองปลายถนนควรเชื่อมต่อกันโดยยกระดับถนนในเมืองระหว่างทั้งสองให้เป็นทางหลวงแผ่นดินสายหลัก แม้ว่าในกรณีส่วนใหญ่จะไม่ผ่านคุณสมบัติก็ตาม
- ถนนทางคู่ขนานต้องมีระดับต่ำกว่าถนนหลักหนึ่งระดับและไม่สูงกว่าถนนรอง
- ส่วนถนนที่ถูกสร้างขึ้นใหม่เป็นเส้นทางใหม่และแหล่งอ้างอิงเส้นทางเดิมยังไม่ได้รับการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นเส้นทางเดิมจะต้องลดระดับลง 1 ระดับ
- ถนนในเมืองระดับบนสุดในแต่ละชุมชนจะต้องไม่มีการแท็กถนนสูงกว่าถนนระหว่างเมืองใดๆ ที่มุ่งไปยังชุมชนนั้น
- ทางหลวงสัมปทาน เป็นแบบแบ่งเขตการปกครอง การจำแนกประเภทควรเป็นไปตามความสำคัญของถนน
- ค่าแท็กทางหลวงที่ไม่ได้กล่าวถึงที่นี่จะต้องยึดตามหลักเกณฑ์ทั่วไปของ OpenStreetMap
- "ส่วน" หมายถึงระยะทางถนนระหว่าง (1) ถนนอื่นที่มีอันดับเดียวกันหรือสูงกว่า (2) พรมแดนประเทศ (3) เมือง/เทศบาล (4) จุดเริ่มต้น/จุดสิ้นสุดของถนนอ้างอิง และ (1) (2) (3) หรือ (4) อื่นๆ (ไม่จำเป็นต้องเป็นเส้นที่ใกล้ที่สุด)
Rough guidelines for minor highway tag decision-making (useful in most cases)
- is the road wide enough for motor cars?
yes
: is the road exclusively for pedestrians?yes
: highway=pedestrianno
: is the road within a private property/estate/facility?yes
: is the road within a gated housing community?yes
: highway=residentialno
: is the road within a large property/estate/facility and frequently used as through traffic?
no
: is the road frequently used as through traffic or to reach a non-residential/farming destination (attraction, hotel, temple...) ?yes
: highway=unclassifiedno
: is the main purpose of the road access to forestry/agricultural fields?yes
: highway=trackno
: is the main purpose of the road access to permanent residences?yes
: highway=residentialno
: best to not map it you are not sure of its classification. If you are forced to tag the road even without knowing the proper classification, mark it as highway=road.
no
: is the path only suitable for walking (e.g. sidewalk, golf course footpath, attraction walkway, hiking trails…) ?
หมายเหตุสำหรับหมายเลขทางหลวง
The first digit of national highway and motorway route numbers follows the region of Thailand the route primary links to: 1 and 5 for the North, 2 and 6 for the Northeast, 3 and 7 for the central region, 4 and 8 for the South, and 9 for the Bangkok ring road. (The motorway system currently only consists of routes 7 and 9, so route numbers beginning 5, 6 and 8 don't yet exist.) (See also the Thai highway network article on Wikipedia.)
Rural road numbers consist of a two-letter province abbreviation followed by four digits. The first digit indicates the level of highway the road connects to, while the remaining three digits are provincial index numbers. Therefore the first digit may be changed following changes to the connecting highway, while the last tree digits generally remain the same. The numbering system for the first digit is: 1 indicates a connection to 1-digit national highways, and likewise for 2, 3 and 4; 5 indicates a connection to other rural roads or local highways, and 6 indicates the road connects to places without forming part of a larger network.
Occasionally one may come across roads bearing reference numbers that include two-letter province abbreviations, but don't otherwise conform to the rural road numbering system or aren't found in the Department of Rural Road's index (see #Official sources below). These are usually outdated reference numbers belonging to the Public Works Department or the Office of Accelerated Rural Development, which were responsible for the roads before they were transferred to Department of Rural Roads in 2002. These outdated numbers may be qualified by the words โยธาธิการ (ยธ.) or เร่งรัดพัฒนาชนบท (รพช.), respectively.
อ้างอิง
- Map Features #Highway
- Highway tag usage
- Tagging samples/out of town
- Tagging samples/urban
- Asia/Asian Highway Network
สถานีบริการน้ำมัน
ใช้ amenity=fuel ในการแท็กสถานที่ ใส่ชื่อลงใน name=*, name:en=*, name:th=* ตามด้วย operator=*, operator:en=*, operator:th=*. ตัวอย่างสถานีบริการน้ำมันที่พบบ่อยได้แก่
- PTT ปตท.
- Bangchak บางจาก
- PT พีที
- Caltex คาลเท็กซ์
- Esso เอสโซ่
- Shell เซลล์
- SUSCO Siam United Services Public Company Limited สยามสหบริการมหาชน จำกัด
- Worldgas เวิลด์แก๊ส (LPG)
ประเภทของเชื้อเพลิงสามารถแท็กได้ตามนี้ Tag:amenity=fuel
ทางน้ำ
Besides the tags listed in Map Features the following tagging is common in Thailand. Try adding width=* to specify the width of the waterway.
Tag | Element | Natural waterways | Photo |
---|---|---|---|
waterway=riverbank | Used for larger rivers (more than 12m wide), to define an area between the opposite riverbanks. | ||
waterway=river | Larger river, แม่น้ำ (Mae Nam). Typically wider than 5m. If the waterway is smaller than you should consider using waterway=stream instead. | ||
waterway=stream | Naturally formed waterway. Typically smaller than 2m, but can be used up to 5m (e.g. if the water is not deep and people can walk through it). | ||
Tag | Element | Man-made waterways | Photo |
waterway=canal | If the name of the waterway contains the word "Khlong" (Thai: คลอง) or if it looks like a typical canal or khlong we should tag it as "canal". Add boat=* where appropriate. | ||
waterway=ditch | If the waterway is significant smaller than a typical canal (less than ), chances are good that it is a "ditch". | ||
waterway=drain | If it is made out of concrete (คอนกรีต) or build from other hard materials, it is maybe a "drain". A drain does not nessessarily contain water all the time. In dry seasons it could be dry and only be filled while it is raining! If the width exceeds and the drain does contain water most of the time consider using waterway=canal instead. |
Administrative levels
In Thailand there are 2 systems, the provincial and the local administration. References: wikipedia: Administrative divisions of Thailand and Thailand subforum.
The provincial administration is hierarchical and centrally controlled by Department of Provincial Administration and Ministry of Interior:
- Kingdom of Thailand > province > district > subdistrict > village
- Ratcha-anachak Thai > changwat > amphoe > tambon > muban
- ราชอาณาจักรไทย > จังหวัด > อำเภอ > ตำบล > หมู่บ้าน).
The local administration is administrated locally under the support of Department of Local Administration:
- provincial administrative organization (PAO), องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.): same boundary as province.
- municipality (thetsaban, เทศบาล) has 3 classes:
- city municipality (thetsaban nakhon, เทศบาลนคร (ทน.))
- town municipality (thetsaban mueang, เทศบาลเมือง (ทม.))
- subdistrict municipality (thetsaban tambon, เทศบาลตำบล (ทต.)).
- A municipality can cover
- a whole district, e.g. wikipedia: Ko Samui;
- a district partially;
- a whole subdistrict, e.g. the city Khon Kaen covers the whole subdistrict Nai Mueang (wikipedia: Amphoe Mueang Khon Kaen);
- parts of more than one subdistrict, e.g. wikipedia: Nakhon Phanom;
- a subdistrict partially.
- in very rare cases can cover area from two districts
- subdistrict administrative organization (SAO), องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)
- can cover one or more adjoining subdistricts in the same district, also subdistricts partially if area shared with a municipality.
- community (chumchon, ชุมชน)
- is administrated by a municipality and can be the same size or smaller than a prior village.
References: wikipedia: Thesaban and wikipedia: List of cities in Thailand.
There are two special cases:
- Bangkok
- is divided into districts (khet, เขต) which are further subdivided into subdistricts (khwaeng, แขวง) and communities (chumchon, ชุมชน).
- is a local administrative organization with no provincial administration. Local administrative organization are responsible for all provincial responsibilities.
- Pattaya City
- located in Amphoe Bang Lamung. Equivalent to the city municipality. The difference is minor, and it only affects a small portion of the administrative organization.
The table shows the values for Key:admin_level and for Key:place. Municipality extends in parallel to subdistrict and may be more or less than one subdistrict. 11 administrative levels are used. The table lists the terms for the administrative units in English, Romanized Thai and Thai.
Country | Administration | Administrative levels admin_level=* and place=* | ||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | ||
Thailand English / Romanized Thai / ไทย |
Provincial Administration / Kan Pokkhrong Suan Phumiphak / การปกครองส่วนภูมิภาค | N/A | Kingdom of Thailand / Ratcha-anachak Thai / ราชอาณาจักรไทย | N/A | Province / Changwat / จังหวัด place=province | N/A | District / Amphoe / อำเภอ place=district | N/A | Subdistrict / Tambon / ตำบล | N/A | Village / Muban / หมู่บ้าน place=village | N/A |
Local Administration / Kan Pokkhrong Suan Thongthin / การปกครองส่วนท้องถิ่น | (not to be tagged) | N/A | Subdistrict Administrative Organization (SAO) / Ongkan Borihan Suan Tambon (O Bo To) / องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) place=county | N/A | ||||||||
(see note)
|
Khwaeng / Khwaeng / แขวง place=suburb | (see note) | Community / Chumchon / ชุมชน place=neighbourhood | |||||||||
Bangkok Metropolitan Administration / Krung Thep Maha Nakhon / กรุงเทพมหานคร | Bangkok / Krung Thep Maha Nakhon / กรุงเทพมหานคร place=city | District / Khet / เขต place=suburb | N/A | Subdistrict / Khwaeng / แขวง place=quarter | N/A |
- The place=* should only be used on nodes. It can be linked to the equivalent boundary=administrative by adding it to the boundary's relation with the role=label.
- Please note that most new municipalities, that have recently been upgraded from the SAO, are still in rural areas and should not be tagged as place=city or place=town. If communities have yet to be established, implying that the villages are still fully functional, the municipality should be tagged as place=municipality instead, while the villages should still be tagged as place=village. If communities have already been established, then change the municipality to place=city or place=town, and change the place=village to recently established communities' place=neighbourhood.
- place=neighbourhood can be applied to any urban area with a name, whether it is an officially recognized community or not.
- All boundary=administrative name tags should have a prefix (Thai) or suffix (English), but not all place=*. Only the node of provincial administration (place=province, place=district, and place=village) should be prefixed or suffixed. However, some place=neighbourhood should be tagged with prefix or suffix (ชุมชน / Community) if they used the name of a specific place, such as the temple, as the community's name, to differentiate them.
- The level-10 boundary=administrative's name tag should be หมู่ที่ xx / Mu xx, whereas place=village's name tag should be บ้าน xx / Ban xx.
- People should be able to recognize the name tag of place=city and place=town. If no one uses the official name, such as the community or the business's branch, the more common name should be used instead.
- The level-10 boundary=administrative should not be removed as soon as the communities are established, because it may still be used for house addresses. Before removing it, ensure that the house address has already been changed to use a street instead.
- In some subdistrict, there may be more than one village with the same name because they are split for administrative purposes. In this case, they should be represented by a single place=village node.
- Because of the small population in some remote areas, some distinct settlements may exist that are not recognized by the authorities (they are recognized as a part of nearby village). In this case, place=hamlet is appropriate.
ที่อยู่
In Thailand addresses general consist of
Term | Example | Tag | Photo | ||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
English | Romanized Thai | Thai | English | Romanized Thai | Thai | addr=* | |
housenumber | Lekthi Ban | เลขที่บ้าน | 85/1 | 85/1 | 85/1 | addr:housenumber=* | |
street | Thanon / Soi / Trok | ถนน / ซอย / ตรอก | Tiwanon Road | Thanon Tiwanon | ถนนติวานนท์ | addr:street=* * | |
village | Muban (Mu Thi) | หมู่บ้าน (หมู่ที่) | Mu 2 | Mu Thi 2 | หมู่ที่ 2 | addr:place=* * | |
subdistrict | Tambon | ตำบล | Bang Talat Subdistrict | Tambon Bang Talat | ตำบลบางตลาด | addr:subdistrict=* | |
district | Amphoe | อำเภอ | Pak Kret District | Amphoe Pak Kret | อำเภอปากเกร็ด | addr:district=* | |
province | Changwat | จังหวัด | Nonthaburi Province | Changwat Nonthaburi | จังหวัดนนทบุรี | addr:province=* | |
postal code | Rahat Praisani | รหัสไปรษณีย์ | 11120 | 11120 | 11120 | addr:postcode=* |
It should be noted that depending on the area, either addr:place=* or addr:street=* is used, and both should not be used together.
แหล่งที่มาของข้อมูล
ภาพถ่ายทางอากาศ
In addition to a survey with GPS one may also use some aerial images if available with a suitable license.
Landsat provides low-resolution satellite imagery of the whole country and is available with different image modes.
While Bing aerial imagery is available in many parts of the world and is the default layer in ID editor, it can be very outdated in rural areas of Thailand (often +5 years).
A recommended alternative with more recent imagery is Maxar and ESRI.
Pay attention to a possible misalignment of aerial and Landsat imagery. Always verify alignment with GPS tracks and realign images when needed. |
Official sources
Legislation and other official proclamations by the Royal Thai Government are exempt from copyright protection. Maps accompanying documents published in the Royal Thai Government Gazette (available at http://mratchakitcha.soc.go.th/ ) may be useful as sources for manual tracing (e.g. of national parks).
GIS data is available from several government agencies, but are presumed to be protected by copyright and unsuitable for import.
The Department of Highways provides a publicly accessible database of national highways at http://roadnet.doh.go.th. As above, the data is considered unsuitable for systematic import, but is useful as a source for confirmation of data and quality assurance.
The Department of Rural Roads publishes indices of rural highways at http://maintenance.drr.go.th/th/DRR. They include route numbers and names (which typically describe the route's start and end points), location, length, and start and end coordinates (although the coordinates appear quite unreliable).
The local highway registry is available at http://lmp.drr.go.th/lmp/waydata/main.html.
การควบคุมคุณภาพ
การแท็กสำหรับจักรยาน (ปัจจุบันใช้สำหรับเชียงใหม่เท่านั้น)
There are many cyclists in Chiang Mai, but almost no officially signposted cycleways or -routes exist. There have recently been some efforts from the Chiang Mai cycling community to collect information about common routes used by cyclists. For this, we tried to figure out how to use OSM conventions to mark roads as cycling routes. This could be a proposal for a convention to establish cycling routes in Chiang Mai and maybe other regions in Thailand.
Objective tags
The following tags should always be considered, because they can be easily verified on the ground and are also used by most cycling routing engines:
- key:highway: the lower the road class, the lesser traffic and lower speeds can be expected, e.g. highway=unclassified or residential would be more suitable for cycling than highway=primary or secondary etc.
- key:lanes: lanes=1 normally best suited for cycling, because less traffic can be assumed than on roads with >1 lane
- key:surface: if the road is paved or not makes a big difference for cycling and should therefore be included in cycling related editing
Others
- key:maxspeed: rarely signposted in Thailand
- key:bicycle: only refers to the legal (e.g. signposted) access for bicycles on roads. It is therefore not a measure for the suitability for cycling
Subjective tags (no ground truthing possible)
Subjective tags can help to give more in-depth information about the cycling suitability of a road, which cannot be determined by the objective tags alone. They should only be used if the user has a good local knowledge.
- class:bicycle tags (derived from class:bicycle#Values):
- class:bicycle=1: Prefer (decent car traffic, but still better than other roads, or road is not in a good condition like dirt road with holes)
- class:bicycle=2: Very Nice way to cycle
- class:bicycle=3: This way is so nice, it pays out to make a detour also if this means taking many unsuitable ways to get here. Outstanding for its intended usage class.
- class:bicycle=-2: Only use to reach your destination, not well suited (e.g. big junctions, but have to be passed to connect to another calmer road).
- key:scenic: If the scenery of a specific part of the road is remarkably beautiful, this key can help to rank the amenity of a cycling-suitable road.
Proposing routes: key:lcn
In order to propose possible cycling routes (local and regional) for a cycle-route network, the key:lcn or key:rcn tags can be helpful. Furthermore, the cycling roads will also be rendered on the OSM-cyclemap[1], which is also being used on the main openstreetmap.org "Cycle Map" layer.
- key:lcn=proposed (for local routes, e.g. inside the city bounds)
- key:rcn=proposed (for regional routes, e.g. to other districts/provinces)
The key-value would be 'proposed' for now, since these routes are not officially designated. Routes should only be proposed if they have been tested on the ground and/or been agreed on by the local cycling community.
If there are any designated routes (not existing in Chiang Mai yet), of course they should be tagged as lcn=yes / rcn=yes.